การส่งข้อมูลจาก NodeMCU ไปยัง IoTtweet เพื่อแสดงใน dashboard - mrolarik/simple-iot GitHub Wiki
- การส่งข้อมูลจาก NodeMCU ไปยัง IoTtweet เพื่อนำไปแสดงใน dashboard สามารถทำได้โดยเปิดโปรแกรม
Arduino
และเปิดตัวอย่างของ IoTtweet โดยเลือกที่เมนูFile>Examples>IoTtweet>WriteToDashboard
- จากนั้นจะปรากฎตัวอย่างของโปรแกรม ดังนี้
- ขั้นตอนต่อไปคือเปลี่ยน
userid
,key
,ssid
,password
โดย -
userid
คือ ตัวเลข 6 หลักที่ได้มาจากการสมัครสมาชิกจากเว็บไซต์ IoTtweet -
key
คือ รหัสที่ได้จากการสร้างDevice
ใหม่ -
ssid
คือ ชื่อของ router ที่จะใช้งาน -
password
คือ รหัสผ่านของ router ที่จะใช้งาน การสมัครเพื่อขอuserid
และkey
สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จากลิงก์ IoTtweet UserID and Key
include <ESP8266WiFi.h>
include <IoTtweet.h>
- คือการเรียกใช้ Library ของ ESP8266 และ IoTtweet
float data0, data1, data2, data3;
String private_tweet = "Hello World";
String public_tweet = "I am Internet of Things";
- คือการส่งข้อมูลไปยัง IoTtweet เพื่อแสดงใน dashboard
- โดยข้อมูลตัวเลข (float) ที่ส่งไปสามารถส่งไปได้สูงสุด 4 ตัว คือ data0 ถึง data 3
void loop() {
data0 = random(20,80);
data1 = random(30,70);
data2 = random(40,60);
data4 = random(50,50);
String response = myiot.WriteDashboard(userid,key,data0,data1,data2,data3,private_tweet,public_tweet);
Serial.println(response);
delay(15000);
}
จากตัวอย่าง
data0 = random(20,80);
data1 = random(30,70);
data2 = random(40,60);
data4 = random(50,50);
- เป็นการสุ่มตัวเลขที่จะส่งไปยังเว็บไซต์ IoTtweet โดยส่งไปได้สูงสุด 4 จำนวน
String response = myiot.WriteDashboard(userid,key,data0,data1,data2,data3,private_tweet,public_tweet);
- คือการส่งข้อมูลไปยังเว็บ IoTtweet เพื่อนำไปแสดงใน dashboard
- จากตัวอย่างโปรแกรมข้างต้น เมื่อกำหนด
userid
,key
,ssid
,password
เสร็จเรียบร้อยให้กดที่ปุ่มVerify
เพื่อตรวจสอบข้อผิดพลาด (Error) ที่อาจจะเกิดขึ้น - จากนั้นให้เชื่อมต่อ
NodeMcu
เข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ และกดที่ปุ่มUpload
เพื่ออัพโหลดโปรแกรมเข้าไปยังNodeMCU
รอจนกระทั่งจะโหลดครบ 100%
- ขั้นตอนในการสร้าง dashboard นั้นเริ่มต้นด้วยการ
Login
เข้าสู่เว็บไซต์ IoTtweet จากนั้นให้คลิกที่ที่เมนูDASHBOARD
- หากได้สร้าง dashbord ที่สร้างไว้แล้ว เว็บไซต์จะแสดงหน้าจอ dashboard นั้น หากยังไม่เคยสร้าง dashboard จะต้องเพิ่ม
Device
ให้เสร็จสิ้นเสียก่อน สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ IoTtweet Signup
- จากตัวอย่างข้างต้น dashboard จะแสดงข้อมูลที่รับมาจาก
NodeMCU
หากต้องการแก้ไขสามารถทำได้โดยคลิกที่ปุ่มEdit Layout
- ขั้นตอนต่อไป สามารถเพิ่ม
chart
, 'gaugeเข้าไปใน dashboard ได้โดยคลิกที่ปุ่ม
Create chartหรือ
Create gauge` โดยเพิ่ม chart และ gauge ได้สูงสุดคือ 4 ตัวเท่านั้น - เมื่อคลิกเพิ่ม
chart
หรือgauge
จากนั้นสามารถคลิกที่Setting
ในแต่ละ chart และ gauge จากนั้นจะปรากฎหน้าต่างเพื่อให้กำหนดค่าของกราฟ และ gauge เช่นTitle
แต่สิ่งที่สำคัญที่จะทำให้รับข้อมูลจากNodeMCU
ได้ถูกต้องคือSLOT data input
โดยเลือกให้ถูกslot
- หากเลือกผิด dashboard ก็จะแสดงข้อมูลที่รับมาผิดพลาด
- เมื่อสร้าง dashboard เสร็จเรียบร้อยให้กดที่ปุ่ม
Save layout
เพื่อบันทึกและแสดงข้อมูลที่ส่งมาจากNodeMCU
แบบ Real-time - ขั้นตอนต่อไป ผู้ใช้งานจะต้องต่ออุปกรณ์ Sensor เข้ากับ NodeMCU และเขียนโปรแกรมเพื่อให้ส่งค่าไปยัง IoTtweet